คณาจารย์ นิสิตคณะเทคโนโลยีการเกษตร และนิสิตสาขาสมาร์ทฟาร์มมิ่งและโซ่อุปทานอัจฉริยะ ชั้นปีที่ 1 คณะโลจิสติกส์ ร่วมทำกิจกรรมใน “โครงการเกษตรจิตอาสา หัวใจพัฒนาสู่สังคม ประจำปี 2567 ครั้งที่ 2” ณ โรงเรียนบ้านพรสวรรค์ ต.ทุ่งมหาเจริญ อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว

ผศ.ดร.เอกรัฐ คำเจริญ อาจารย์สาขาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว เป็นวิทยากรในโครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับวิสาหกิจชุมชนนาอินทรีย์บ้านพระเพลิง และวิสาหกิจชุมชนกลุ่มปลูกผักปลอดภัยบ้านมะค่าปุ่มกิจกรรมสาม

กิจกรรมโครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้วประจำปีการศึกษา 2567 วันที่ 27 มิถุนายน 2567กิจกรรม

กำหนดการโครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ประจำปีการศึกษา 2567 ในวันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุมศานิตย์ นาคสุขศรี ชั้น 2 อาคาร ศ.ดร.สุชาติ อุปถัมภ์

คณะเทคโนโลยีการเกษตร รับสมัครนิสิตใหม่ TCAS4 รอบ DIRECT ADMISSION ปีการศึกษา 2567 รับสมัครตั้งแต่วันที่ 28 พ.ค. – 11 มิ.ย. พ.ศ.2567

📣–>สมัครเรียน TCAS67 (รอบ TCAS 4:  Direct Admission) 🤩
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว
ระหว่างวันที่ “28 พฤษภาคม – 11 มิถุนายน 2567”
————————————————-
📍📍 รับสมัครบุคคลเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2567 รายละเอียดระเบียบการสมัคร: https://regservice.buu.ac.th
**ภาคปกติ รับวุฒิ ม.6 ปวช.หรือเทียบเท่า
**ภาคปกติ (หลักสูตรเทียบโอนผลการเรียน) (เรียนวันเสาร์-อาทิตย์) รับวุฒิ ปวส. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่า
-สมัครผ่านเวปไซต์มหาวิทยาลัย : https://e-admission.buu.ac.th
👉-หลักสูตรที่เปิดสอน
• สาขาวิชานวัตกรรมเกษตร (วท.บ.)
– กลุ่มวิชานวัตกรรมการผลิตพืช
– กลุ่มวิชานวัตกรรมการผลิตสัตว์
• สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร (วท.บ.)
และ • แขนงวิชาสมาร์ทฟาร์มมิ่งและโซ่อุปทานอัจฉริยะ (Smart Farming and Supply Chain) (วท.บ.) (การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน) (ปีที่ 1-2 เรียนที่คณะเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาเขตสระแก้ว และปีที่ 3-4 เรียนที่คณะโลจิสติกส์ วิทยาเขตบางแสน ม.บูรพา)
📝 สอบถามข้อมูลสาขาวิชาโดยตรงได้ที่:
-สาขาวิชานวัตกรรมเกษตร (กลุ่มวิชานวัตกรรมการผลิตพืช และกลุ่มวิชานวัตกรรมการผลิตสัตว์)
☎️ติดต่อได้ที่ ผศ.ดร.ชนากานต์ ลักษณะ (โทร 089-490-5896)
-สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
☎️ติดต่อได้ที่ ผศ.ดร.ศิริลักษณ์ กมลวรรณสิทธิ์ (โทร 062-946-1161)
-แขนงวิชาสมาร์ทฟาร์มมิ่งและโซ่อุปทานอัจฉริยะ
☎️ติดต่อได้ที่ อ.ดร.สิริเชษฐ์ รัตนะชิตธวัช (โทร 061-415-2225)
หรือ รายละเอียดเพิ่มเติม: https://buulog.com/
หรือ FB: BUULOG
_________________________________________________________________
นอกจากนี้ คณะเทคโนโลยีการเกษตร เปิดรายวิชาลงเรียนล่วงหน้าเพื่อสะสมในระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank) และหลักสูตรระยะสั้น (Short course) ดังนี้
👉 4 รายวิชาลงเรียนล่วงหน้าเพื่อสะสมในระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank) (วิชาละ 3 หน่วยกิต) สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาต่อ
👉 6 หลักสูตรระยะสั้น (Short course) สำหรับบุคคลทั่วไปและผู้ที่ต้องการศึกษาต่อ
📝📱 สอบถามข้อมูลได้ที่: ผศ.ดร.ชนากานต์ ลักษณะ (โทร 089-490-5896)4

คณะเทคโนโลยีการเกษตร รับสมัครนิสิตใหม่ วุฒิ ปวส. เรียนต่อในระดับปริญญาตรี TCAS3 รอบ ADMISSION ปีการศึกษา 2567 รับสมัครตั้งแต่วันที่ 8-22 พ.ค. พ.ศ.2567

รับสมัครผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี (ครั้งที่ 3)
– หลักสูตรต่อเนื่องและเทียบโอนผลการเรียน (ครั้งที่ 3)
📍รับสมัครวันที่ 8-22 พฤษภาคม พ.ศ. 2567
👉ที่เว็บไซต์ >> https://e-admission.buu.ac.th/
✨ดาวน์โหลดระเบียบการได้ที่ https://regservice.buu.ac.th/text/J2-67.pdf
————————————————-
👉คณะเทคโนโลยีการเกษตร
เปิดสอนหลักสูตร
• สาขาวิชานวัตกรรมเกษตร (วท.บ.)
– กลุ่มวิชานวัตกรรมการผลิตพืช
– กลุ่มวิชานวัตกรรมการผลิตสัตว์
• สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร (วท.บ.)
และ • แขนงวิชาสมาร์ทฟาร์มมิ่งและโซ่อุปทานอัจฉริยะ (Smart Farming and Supply Chain) (วท.บ.) (การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน) (ปีที่ 1-2 เรียนที่คณะเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาเขตสระแก้ว และปีที่ 3-4 เรียนที่คณะโลจิสติกส์ วิทยาเขตบางแสน ม.บูรพา)
📝 สอบถามข้อมูลสาขาวิชาโดยตรงได้ที่:
-สาขาวิชานวัตกรรมเกษตร (กลุ่มวิชานวัตกรรมการผลิตพืช และกลุ่มวิชานวัตกรรมการผลิตสัตว์)
☎️ติดต่อได้ที่ ผศ.ดร.ชนากานต์ ลักษณะ (โทร 089-490-5896)
-สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
☎️ติดต่อได้ที่ ผศ.ดร.ศิริลักษณ์ กมลวรรณสิทธิ์ (โทร 062-946-1161)
-แขนงวิชาสมาร์ทฟาร์มมิ่งและโซ่อุปทานอัจฉริยะ
☎️ติดต่อได้ที่ อ.ดร.สิริเชษฐ์ รัตนะชิตธวัช (โทร 061-415-2225)
หรือ รายละเอียดเพิ่มเติม: https://buulog.com/
หรือ FB: BUULOG
_________________________________________________________________
นอกจากนี้ คณะเทคโนโลยีการเกษตร เปิดรายวิชาลงเรียนล่วงหน้าเพื่อสะสมในระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank) และหลักสูตรระยะสั้น (Short course) ดังนี้
👉 4 รายวิชาลงเรียนล่วงหน้าเพื่อสะสมในระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank) (วิชาละ 3 หน่วยกิต) สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาต่อ
👉 6 หลักสูตรระยะสั้น (Short course) สำหรับบุคคลทั่วไปและผู้ที่ต้องการศึกษาต่อ
📝📱 สอบถามข้อมูลได้ที่: ผศ.ดร.ชนากานต์ ลักษณะ (โทร 089-490-5896)
 

“กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (DIPROM)” หรือ ดีพร้อม ดันโกโก้ไทยสู่ ‘โกโก้ฮับ’ หนุนสระแก้วสู่โกโก้ฮับภาคตะวันออก ณ วิสาหกิจชุมชนคุ้มเพชรโกโก้ คณะเทคโนโลยีการเกษตรร่วมเป็นวิทยากรฝึกอบรมในกิจกรรมยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการเกษตรอุตสาหกรรมโกโก้จังหวัดสระแก้วด้วยพลังแนวคิดใหม่ให้ดีพร้อม “Cocoa Go To The Future”

"กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (DIPROM)" หรือ ดีพร้อม
ดันโกโก้ไทยสู่ 'โกโก้ฮับ' หนุนสระแก้วสู่โกโก้ฮับภาคตะวันออก
ณ วิสาหกิจชุมชนคุ้มเพชรโกโก้ ตำบลคลองหินปูน อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
โดยคณะเทคโนโลยีการเกษตรร่วมเป็นวิทยากรฝึกอบรม
ในกิจกรรมยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการเกษตรอุตสาหกรรมโกโก้จังหวัดสระแก้ว
ด้วยพลังแนวคิดใหม่ให้ดีพร้อม "Cocoa Go To The Future"

“กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (DIPROM)” หรือ ดีพร้อม ดันโกโก้ไทยสู่ ‘โกโก้ฮับ’ หนุนสระแก้วสู่โกโก้ฮับภาคตะวันออก ณ วิสาหกิจชุมชนคุ้มเพชรโกโก้ ตำบลคลองหินปูน อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว 
โดยคณะเทคโนโลยีการเกษตรร่วมเป็นวิทยากรฝึกอบรมในกิจกรรมยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการเกษตรอุตสาหกรรมโกโก้จังหวัดสระแก้วด้วยพลังแนวคิดใหม่ให้ดีพร้อม “Cocoa Go To The Future”
.
เมื่อวันที่ 27 – 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 ดร.สิริเชษฐ์ รัตนะชิตธวัช ผู้รักษาการแทนคณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร และนายขวัญน้อง ภักติวานิช ร่วมเป็นวิทยากรฝึกอบรมในกิจกรรมยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการเกษตรอุตสาหกรรมโกโก้จังหวัดสระแก้วด้วยพลังแนวคิดใหม่ให้ดีพร้อม “Cocoa Go To The Future” ‘ดีพร้อม’ โดยบรรยายให้ความรู้ในเรื่อง เทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปจากผลโกโก้ 
แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการ “การพัฒนาเทคนิคการหมักโกโก้” หัวข้อดังนี้ เทคนิคการคัดเลือกผลผลิต ผลโกโก้ กะเทาะผลโกโก้ร่วมกัน เตรียมลังไม้เพื่อหมักโกโก้ เตรียมอุปกรณ์ในการหมักโกโก้ วิธีการหมักโกโก้ การทดสอบคุณภาพ ทดสอบคุณสมบัติ/สีกลิ่น ให้ได้คุณภาพ มาตรฐานตามที่ตลาดต้องการ และในวันที่ 28 ก.พ. 2567 กิจกรรมแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการ “การแปรรูปโกโก้” 
หัวข้อดังนี้ 
เทคนิคการแปรรูปโกโก้เป็นผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
– วิธีการทำช็อกโกแลต ตั้งแต่เมล็ดถึงช็อกโกแลต
– การชงเครื่องดื่มช็อกโกแลต (Chocolate tasting session)
– การฝึกซิมช็อกโกแลโดยการชิมผสไม้ของจริงเพื่อเทียบรสและกลิ่น
– และแนวทางการ DIY จาก waste มาทำเป็น เครื่องประดับแฟชั่น
บรรยายหัวข้อ
การเพิ่มกลยุทธ์การตลาดด้วยเทคนิคการเล่าเรื่อง (Storyteling)
ซึ่งนายภาสกร ชัยรัตน์ อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม เปิดเผยว่า ดีพร้อมจะดำเนินการมุ่งผลักดันให้อุตสาหกรรมโกโก้ของประเทศเติบโตสู่การเป็นโกโก้ฮับ (THAI COCOA HUB) 
และและพืชเศรษฐกิจหลักของไทยทำให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้
ทั้งนี้ เนื่องจากโกโก้เป็นสินค้าที่มีความต้องการของตลาดโลกสูง มีการจําหน่ายและส่งออกไปยังหลายประเทศในทวีปยุโรป ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ รวมถึงแนวโน้มความต้องการและราคาในตลาดโลกพุ่งสูงขึ้นกว่า 5,800 ดอลล่าสหรัฐ หรือประมาณ 210,000 บาท ต่อตัน
อีกทั้งโกโก้ยังเป็นพืชแห่งอนาคต (Future Crop) สามารถนำทุกส่วนของโกโก้มาแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย เช่น กลุ่มอาหารที่ให้ประโยชน์สูงต่อร่างกาย (Super Food) 
โกโก้ผง เนยโกโก้ ช็อกโกแลต เครื่องสําอาง นํ้าหอม จึงส่งผลให้พื้นที่เพาะปลูกโกโก้ในประเทศเพิ่มขึ้น ซึ่งประเทศไทยมีความได้เปรียบด้านภูมิประเทศสามารถปลูกโกโก้ได้ครอบคลุมทุกภูมิภาค

คณะเทคโนโลยีการเกษตร เปิดรายวิชาลงเรียนล่วงหน้าเพื่อสะสมในระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank) และหลักสูตรระยะสั้น (Short course)

คณะเทคโนโลยีการเกษตร เปิดรายวิชาลงเรียนล่วงหน้าเพื่อสะสม
ในระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank) และหลักสูตรระยะสั้น (Short course)