ประวัติคณะเทคโนโลยีการเกษตร


วิสัยทัศน์และพันธกิจ


การบริหาร


บุคลากร


เจตจํานงของผู้บริหาร

สาขาวิชานวัตกรรมเกษตร
สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
สาขาวิชานวัตกรรมเกษตร

ผศ.ดร.อรสุรางค์  โสภิพันธ์  ประธานสาขาวิชานวัตกรรมเกษตร
วท.บ. เคมี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วท.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
 
 
 
ผศ.ดร.สมคิด ใจตรง  
วท.บ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วท.ม. เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วท.ด. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
 
 
ผศ.ดร.ไพทูล แก้วหอม 
วท.บ. เกษตรศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วท.ม. สัตวศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ปร.ด. เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
 
 
 
ผศ.ดร.สุปรีณา ศรีใสคำ
วท.บ. เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วท.ม. เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วท.ด. เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
 
 
 
 
 
ผศ.ดร.ขวัญใจ หรูพิทักษ์
วท.บ. ชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.ม. เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
D.Sc AGRONOMY AND PLANT BREEDING EIDG. TECHNISCHE HOCHSCHULE, Zurich, SWITZERLAND
 
 
 
 
 

ผศ.ดร.บังอร ประจันบาล
วท.บ. จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วท.ม. ชีวเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปร.ด. ชีวเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
 
 
 
 
รศ.ดร.ชนากานต์ ลักษณะ  
วท.บ. ทรัพยากรเกษตรชีวภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.ม. เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปร.ด. เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
 
 
 
 

 ดร.ประทีป  อูปแก้ว 
วท.บ พืชไร่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วท.ด. พืชไร่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
 
 
 
 
 

ดร.จิรัชยา ยีมิน
วท.บ. วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D. Horticulture and Agronomy, University of California, Davis, United State of America

สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

 

ผศ.ดร.ศิริลักษณ์ กมลวรรณสิทธิ์   (ประธานสาขาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร)
วท.ด. (ชีวเวชศาสตร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. 2556
วท.ม. (เภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2550
วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต์) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ.2548

 
 
 
 
 
 
 
 

ดร.สิริเชษฐ์ รัตนะชิตธวัช 
ปร.ด. (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2553
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2544
วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2541

ผศ.ดร.ไกรยศ แซ่ลิ้ม 
ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2558
วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2550
วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2546

ผศ.ดร.เอกรัฐ คำเจริญ
ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2557
วท.บ. (อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2550

ผศ.ดร.กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ
วท.บ. ชีววิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.บ. ชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วท.ด. ชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม




     คณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้จัดตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อขยายโอกาสทาง การศึกษาไปสู่ส่วนภูมิภาค โดยมุ่งเน้นการบูรณาการทางวิชาการ การนำเทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนท้องถิ่น และเพื่อการพัฒนาทางการเกษตรอย่างยั่งยืน จากกรอบแนวทางการพัฒนานี้ การดำเนินงานในอนาคตของคณะเทคโนโลยีการเกษตรจึงให้ความสำคัญในการเป็นส่วนงานเพื่อชุมชนอย่างยั่งยืน (Faculty for Sustainable Social Responsibility) โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมกับชุมชน การใช้ทรัพยากร ทางการเกษตรของพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ ทั้งในด้านการเรียนการสอนที่สามารถเรียนรู้ควบคู่การฝึกปฏิบัติใน พื้นที่จริง และการวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อนำไปสู่การบริการวิชาการที่ เกิดประโยชน์โดยตรงต่อเกษตรกร
     จังหวัดสระแก้ว เป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่มีทรัพยากรการเกษตรที่เพรียบพร้อม และที่สำคัญเป็น พื้นที่การค้าชายแดนที่กำลังมีการขยายตัวทางเศรษกิจเป็นอย่างมากเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเชียน (AEC โดยเฉพาะสินค้าที่เป็น ผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ดังนั้นการมีส่วนร่วมกับหน่วยงาน ภาคการเกษตรในพื้นที่เพื่อนำความรู้และเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน จึงเป็นพันธกิจหนึ่งที่สำคัญ ของคณะฯ นอกจากนี้การเพิ่มขึ้นของประชากรโลกในอนาคตและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะส่งผลให้ความต้องการบริโภคอาหารและพลังงานมีมากขึ้น ดังนั้น การพัฒนาทางด้านพืชพลังงานทดแทนและการผลิตอาหารที่ ปลอดภัย จึงเป็นอีกพันธกิจหนึ่งที่สำคัญของคณะฯ ซึ่งแนวทางการพัฒนานี้ได้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ในประเด็นยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความคงของอาหารและพลังงานเรื่อง การเพิ่มปะสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร มูลค่าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่อาหาร การสร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกร และการสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพัฒนาพลังงานชีวภาพในระดับครัวเรือนและชุมชน และยังสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ของจังหวัดสระแก้วในประเด็น การปรับปรุงปัจจัยและกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น รองรับการเป็นแหล่งพืชพลังงานทดแทนและอาหารปลอดภัยของจังหวัดอีกด้วย จากการเป็นส่วนงานเพื่อชุมชนอย่างยั่งยืนของคณะเทคโนโลยีการเกษตรนี้จะช่วยยกระดับ คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเกษตรกร สร้างแรงจูงใจให้เยาวชน เกษตรกรรุ่นใหม่ และแรงงานที่มีคุณภาพ เข้ามาสู่อาชีพเกษตรกรรมทำให้มีอาชีพที่มั่นคง ทัดเทียมกับงานในสาขาอาชีพอื่นได้อย่างยั่งยืนต่อไป